วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Colt 1911

Colt M1911

Type  Semi-automatic pistol
Place of origin United States

Service history
In service 1911–present
Used by 28 nations, see Users below for details
Wars As standard US Service pistol: World War I, World War II, Korean War, and Vietnam War
In non-standard use: Gulf War, War in Afghanistan, and Iraq War

Production history
Designer John Browning
Designed 1911[1] & 1927 (A1)
Number built Over 2 million
Variants M1911A1,[1] ,M1911A2,[citation needed] RIA Officers

Specifications
Weight 2.44 lb (1,105 g) empty, w/ magazine (FM 23–35, 1940)[1]
Length 8.25 in (210 mm)[1]
Barrel length 5.03 in (127 mm), Government model;[1]
4.25 in (108 mm), Commander model;
3.5 in (89 mm), Officer's ACP model
Cartridge .45 ACP
Action Short recoil operation[1]
Muzzle velocity 825 ft/s (251 m/s)
Feed system 7-round standard detachable box magazine[1]


โคลท์1911(Colt 1911) หรือ โคลท์โกฟเวอเม้น ชื่อนี้ได้ถูกเรียกขานบนโลกนี้100กว่าปีแล้ว
(ผลิตในปี1911) แต่ด้วยระบบของมันทำให้ชาวโลกยังคงไว้วางใจจะใช้มันต่อไปและไม่รู้ว่าจะเลิก ใช้มันเมื่อไหร่  

ปืน1911 โมดูล่า(ใช้ระบบแบบ1911)ได้ถูกส้างขึ้นมาจากอีกหลากหลายยี้ห้อไม่เพียงแค่ Coltเท่านั้น แต่ยังมี บ.ผลิตอาวุธได้ซื้อลิขสิทธินี้ไปผลิตออกมาอีกมากมายหลายรุ่นหลาย ชื่อเรียกแต่มันก็ยังคงเป็น1911อยู่ดีครับแค่ในสมัยสงครามโลกก็ผลิตออกมาก ว่า4.5ล้านกระบอกแล้วครับยังไม่รวมผู้ผลิตรายใหม่ๆอีกนะครับ แม้แต่ไทยเองก็เอาเข้ามาผลิตกะเค้าเหมือนกันนะครับในชื่อ ปพ.86 
(ปืนพก 86 เข้าประจำรปี 2486 )

อย่างที่กล่าวมันผลิตออกมาประจำการในปี1911 สงครามแรกที่มันเข้าประจำการรู้สึกจะสู้กับสเปนนะครับแถมชนะด้วยก่อนสงคราม โลกครั้งที่1ซะอีก นับเป็นปืนออโต้รุ่นแรกๆของโลกเลยหละครับ และที่ทำให้1911สร้างชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันไปทั่วคือสมัยสงครามโลก ครังที่2ตอนรบกับญี่ปุ่นครับ

นี่เป็น1ในปืนของบิดาแห่งปืนเป็นผู้ ออกแบบเค้าคนนั่นคือนาย John M. Browning ปืนที่ชายผู้นี้ออกแบบยังส่วนใหญ่ยังประจำการและใช้ได้ดีอยู่มาก และมีการผลิตใหม่เรื่อยๆอีกด้วย โดย1911นี้ใช้กระสุนขนาด .45ACP (Autometic Colt Pistol)หรือขนาด 11มม.ที่เราเรียกกันติดปาก ขนาดว่าถ้าบอกว่าอาวุธปืน11มม. ต้องนึกถึงโคลท์1911แน่นอน อานุภาพของกระสุน.45นี้รุนแรงมากพอจะหยุดยั้งเป้าหมายได้ในนัดเดียว หรือไม่เกิน2นัด (ยิ้งเจอลูกJHPนัดเดียวล้มถ้าอยากรู้เรื่องกระสุนก็ขอให้บอกครับ)
1911บรรจุ กระสุนได้7นัดครับ เพราะว่าปืนสั้นรุ่นเก่าๆยังไม่มีแนวคิดแบบการจัดว่ากระสุนเป็น2แถวแบบสมัย นี้ แต่นั้นก็เพียงพอจะหยุดนักรบชาวญี่ปุ่นในระยะไกล้ได้แล้วหละครับ

1911ปฏิบัติการแบบS.A.ซึ่งเป็นระบบแรกสุดของปืนสั้นออโต้เลยครับ1911ต้องดึงสไลด์ ถอยหลังก่อน1ครั้งเพื่อโหลดลูกเข้ารังเพลิงพร้อมให้นกอยู่ในตำแหน่งง้างสุด โดยในจังหวะนี้จะสามารถเข้าห้ามไกได้ครับ ถ้านกไม่ง้างสุดจะดัยนห้ามไกไม่เข้า
และยังมีห้ามไกหลังอ่อนซึ่งเป็นเซฟอีกชั้นนึงถ้ากำด้ามไม่แน่นจนหลังอ่อนยุบตัวติดกับเฟรมปืนจะไม่สามรถเหนี่ยวไกได้ เช่นกัน

จากรูป ที่ผมนำมาให้ดู จะเห็นความแต่กต่างของ1911 และ1911A1(ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน)แบบที่ชัดเจนเลยคือปาดด้านข้างเฟรมตรง ไกและไกที่เล็กลงเพราะว่าสมัยนั้นรบกับประเทศ(อะไรไม่รู้)ที่มีอากาศหน้า ทหารต้องใส่ถุงมือหนา จึงต้องปาดเว้าและลดความยาวไกลงมาให้สอดนิ้วได้ง่ายๆ และยังทำให้คนมือเล็กๆเหนี่ยวไกได้สะดวกอีกด้วย และยังมีจุดแตกต่างอีกนิดหน่อย อย่างหงอนนกสับ สปริงแฮมเมอร์เฮ้าซิ่ง (ตรงแถวๆส้นปืนนั้นหละ)








บ.ผลิตปืนชื่อSTI.ได้นำปืน1911นี่ไปดัดแปลงพัฒนาและตั้งชื่อว่า2011(ล้ำสมัยกว่า1911 100ปี)
สำหรับเป็นปืนแข่งขันกีฬาไม่ว่าจะเป็นIPSC IDPA หรือการแข่งอีกหลากหลายประเภท
โดย การเปลี่ยนเฟรมล่างเป็นโพลิเมอร์แม็กกาซีนแบบ2แถวจุลูกได้ถึง15นัด เอาบุชประคองลำกล้องออกและเพิ่มความหนาของลำกล้องขึ้น และในกีฬาIPSCอาจจะใส่บ่อแม็ก หรือที่ติดอยู่ตรงส้นปืนเพื่อความเร็วในการเปลี่ยนแม็กก่ซีน compensator ที่ปากลำกล้อง หรือสำหรับนักแข่งในรุ่นOPENที่จะแตต่งปืนยังไงก็ได้ก็อาจจะติดศูนย์เล็งแบบ Reddotเพื่อในการเล็งที่เร็วอีกด้วย นักกีฬาIPSCแทบทุกคนก็อยากจะได้มันไว้ในครอบครองซักกระบอกเลยทีเดียว ด้วยตำแหน่งเซฟไกที่ง่ายต่อการบริหาร ไกสามารพแต่งน้ำหนักไกได้ง่าย ชิ้นส่วนน้อย บาลานซ์ปืนที่ดี ทำให้มันเป็นปืนแข่งอันดับ1ของโลกอีกเช่นกัน
ซึ่งนอกจากSTI 2011 แล้ว ยิงมี INFINITY จากบ.SVI ที่แยกตัวออกมาผลิตปืน2011เองอีกด้วย





----------------------------------------------------------------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น